“น้องเป๊ป”
อยากชวนมาทำแบบประเมิน
อาการของโรคกรดไหลย้อน

“น้องเป๊ป” อยากชวนมาทำแบบประเมินอาการของโรคกรดไหลย้อน

เพียงตอบคำถาม 6 ข้อ
banner-1
สนับสนุนโดยบริษัท แอสตร้าเซนเนก้า (ประเทศไทย) จำกัด
ร่วมกับสมาคมประสาททางเดินอาหารและการเคลื่อนไหว (ไทย)
รู้จักโรคกรดไหลย้อน ?
arrow-down
banner-2

โรคกรดไหลย้อน หรือ GERD
คืออะไร ?

โรคกรดไหลย้อน หรือ GERD คืออะไร ?

โรคกรดไหลย้อน (Gastroesophageal Reflux Disease) คือภาวะที่มีการไหลย้อนของน้ำย่อยหรือแก๊ส จากกระเพาะอาหารเข้าสู่หลอดอาหาร ทำให้เกิดอาการรบกวนส่งผลต่อคุณภาพชีวิต ในบางราย อาจมีภาวะหลอดอาหารอักเสบจนเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา หรือเกิดมะเร็งหลอดอาหารส่วนปลายกรณีที่มีการอักเสบเรื้อรังได้

bubbles

ปัจจัยเสี่ยงโรคกรดไหลย้อน

ปัจจัยเสี่ยงโรคกรดไหลย้อน

risk-factor

หูรูดหลอดอาหารส่วนปลาย

เสื่อมสมรรถภาพ

risk-factor

น้ำหนักตัวที่เกินมาตรฐาน

risk-factor

พฤติกรรมการรับประทาน

อาหารแล้วนอนเลย

risk-factor

รับประทานอาหารประเภท

ทอดหรือมันในปริมาณมาก

risk-factor

รับประทานอาหารในปริมาณ

ที่มากเกินไปใน 1 มื้อ

risk-factor

การดื่มแอลกอฮอล์ หรือ

สูบบุหรี่เป็นประจำ

อาการเด่น

อาการเด่น

feature

แสบร้อนกลางอก

(heartburn)

feature

เรอเปรี้ยว

(regurgitation)

อาการอื่น ๆ ที่พบร่วมได้

อาการอื่น ๆ ที่พบร่วมได้

feature

อาการไอเรื้อรัง

feature

เสียงแหบเรื้อรัง

feature

ฟันกร่อน ฟันผุ

มีกลิ่นปาก

สัญญาณเตือนที่ต้องไปพบแพทย์ทันที!!!

สัญญาณเตือนที่ต้องไปพบแพทย์ทันที!!!

ดูแลตัวเองอย่างไร
เมื่อเป็นโรคกรดไหลย้อน

ดูแลตัวเองอย่างไร เมื่อเป็นโรคกรดไหลย้อน

bubbles-2

แบบคัดกรอง

เพื่อดูว่าคุณเสี่ยงเป็นโรคกรดไหลย้อนหรือไม่ ?

เริ่มทำแบบประเมินกันเลย!!!
  • เครื่องมือประเมินนี้ไม่ใช่กิจกรรมส่งเสริมการขาย ได้รับการพัฒนาและสนับสนุนโดยบริษัท แอสตร้าเซนเนก้า (ประเทศไทย) จำกัด ร่วมกับสมาคมประสาททางเดินอาหารและการเคลื่อนไหว (ไทย)
  • เครื่องมือประเมินนี้ไม่มีการจัดเก็บหรือรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลใด ๆ
  • การประเมินนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ข้อมูลเบื้องต้นเท่านั้น และไม่สามารถใช้แทนคำแนะนำทางการแพทย์ การวินิจฉัย หรือการรักษาจากแพทย์หรือเภสัชกร
GerdQ Assessment Tool: TH-15995
Reference:
1. สมาคมประสาททางเดินอาหารและการเคลื่อนไหว (ไทย). Thailand GERD guideline 2020.
2. Jones R et al. Aliment PharmacolTher 30,
1030-1038.

© AstraZeneca 2023